วันอาทิตย์ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 15 วันที 1 พฤษภาคม 2558

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 15 วันที 1 พฤษภาคม 2558


สรุปการเรียนในรายวิชา


-สิ่งที่ได้รับจากการเรียนวิชานี้ 

1.ได้ฝึกทักษะการจัดการเรียนการสอน

2. ได้เรียนรู้เกี่ยวกับกรอบมาตรฐาน

3. ได้ทักษะมากมายจากที่อาจารย์แสดงเป็นแบบอย่าง

4. ได้รับคำแนะนำตางๆจากที่ได้ออกไปฝึกสอบสอน

5. ได้ฝึกการกล้าแสดงความคิดเห็น

6. ความหมายเกี่ยวกับพัฒนาการการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย

7. ได้รับความรู้จากการนำเสนองานของเพื่อนและของตนเอง

8.ได้ฝึกการร้องเพลงสนุกสนานมากค่ะ

**ต้องขอขอบพระคุณอาจารย์สำหรับทุกคำแนะนำทุกเทคนิคที่ถ่ายทอดมาสู่พวกเราทุกคนนะค่ะพวกเราจะนำคำแนะนำเทคนิคต่างๆของอาจารย์ไปสอนให้มีประสิทธิภาพที่สุดเลยค่ะ

บันทึกอนุทินครั้งที่ 14 วันพุธที่ 1 พฤษภาคม 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 14 วันพุธที่ 1 พฤษภาคม 2558


เนื้อหาที่เรียน

1.การเสริมประสบการณ์คณิตศาสตร์พ่อแม่เป็นผู้จัด 

-พาลูกไปตลาด-การตื่นนอนและการหลับ-การอ่านป้ายทะเบียนรถด้านหน้า-เบอร์โทรศัพท์พ่อแม่


2. สื่อการเรียนรู้

-สื่อในการเข้ามุม-สื่อที่เป็นเกมการศึกษา  

*จิ๊กซอว์

*จับคู่ภาพเหมือน                                    

 *โดมีโน่                                       

 *เกมพื้นฐานการบวก                                       

  *ความสัมพันธ์สองแกม                                     

  *เกมเรียงลำดับ                                       

  *เกมรายละเอียดของภาพ                                      

   *เกมรถตู้



 ทักษะที่ได้

1. การสอนแบบผู้เรียนมีส่วนร่วม2. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็น4.ได้ฝึกการจดบันทึกและย่อใจความสำคัญ
3. ได้ความเชื่อมโยงกับเนื้อหา 

 

การประยุกย์ใช้

ในการจัดกิจกรรมต่างๆการเรียนการสอนเป็นแนวทางที่ดีได้สำหรับทุกๆกิจกรรม ได้สามารถนำไปประยุกต์เพื่อทุกกิจกรรมได้

 

 

บรรยากาศในห้อง

เพื่อนๆ เรียนกันอย่างสนุกสนาน สนใจการเรียนดีระดับนึง ให้ความร่วมมือในการเรียนเป็นอย่างดีค่ะ

 

ประเมินอาจารย์ผู้สอน

อาจารย์เสียงดังฟังชัด มีความพร้อมในการสอนมากสอนได้เข้าใจตรงกับเนื้อหาสนุกดีค่ะ

 

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 13 วันพุธที่ 27 เมษายน 2558

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 13 วันพุธที่ 27 เมษายน 2558

เนื้อหาที่เรียน

1. วันนี้เป็นการเรียนชดเชย

2. วันนี้อาจารย์ให้ทำแบบประเมิน

3. มีโจทย์ 13 ข้อโดยมีโจทย์ดั่งนี้

1.พัฒนาการหมายถึงอะไร?
2.การเรียนรู้มีลักษณะอย่างไร?
3.หากครูไม่ศึกษาพัฒนาการและวิธีการเรียนรู้ของเด็กการจัดประสบการณ์จะเป็นอย่างไร?
4.คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย มีลักษณะอย่างไร?
5.คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยแตกต่างจากวิชาคณิตศาสตร์ในระบบการเรียนการสอนของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างไร?
6.การนำความรู้เกี่ยวกับคณิตศาสตร์หรือการคิดคำนวณมาจัดประสบการณ์ให้เด็กมีแนวคิดอย่างไร?
7.สาระคณิตศาสตร์ตามกรอบมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัยมีอะไรบ้าง พร้อมยกตัวอย่างการจัดประสบการณ์แต่ละสาระ
8.ผู้สอนบูรณาการคณิตศาสตร์ผ่านรูปแบบการสอนใดได้บ้าง?
9.ให้ท่านยกตัวอย่างขั้นตอนรูปแบบการสอนบูรณาการคณิตศาสตร์?
10.ในการทดลองการจัดประสบการณ์ทำไมการวางโต๊ะและกระดานเขียนต้องมีความสัมพันธ์กับการนั่งของครู
11.ขั้นตอนการจัดประสบการณ์มีอะไรบ้าง พร้อมยกตัวอย่าง
12.ในการทดลองการจัดประสบการณ์มีเทคนิควิธีที่ท่านพึงระวังและควรนำมาใช้มีอะไรบ้าง
13.จากการศึกษาในรายวิชาการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยท่านได้ความรู้และทักษะใดบ้าง คุณธรรมจริยธรรมที่ได้รับจากรายวิชานี้คืออะไร ท่านสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างไร อาจารย์ใช้เทคนิคการสอนอะไร พร้อมยกตัวอย่าง ท่านมีโอกาสใช้เทคโนโลยีทางการศึกษาบ้างหรือไหม พร้อมยกตัวอย่าง ท่านมีประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้หรือไม่ ถ้ามีให้ท่านยกตัวอย่าง

การบันทึกอนุทินครั้งที่12 วัน พุธ ที่ 22 เมษายน 2558



การบันทึกอนุทินครั้งที่12 วัน พุธ ที่ 22 เมษายน 2558

เนื่อหาที่เรียน

1. มีขนมมาให้1กระปุก แล้วให้ทายว่าทังหมดมีกี่ชิ้น2 นำออกมานับโดยตัวแทนจากเพื่อน โดยการวางแถวล้ะ10 ชิ้น
3. นำมาสอนโดยการจับคู่ขนม1ต่อ1
4. สอบสอนตามแผนที่เชียนเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว โดยอาจารย์จะให้คำแนะนำประกอบตลอด

  



การประยุกต์ใช้


 1. สามารถนำมาประยุกต์เข้ากับในห้องเรียนได้ เช่นการทายขนมและนำมาหยิบจับคู่ได้การเปรียบเทียบมากกว่าน้อยกว่า




บรรยากาศในห้องเรียน


1.เพื่อนๆให้ความร่วมมือกันดีมาก

2. มาเรียนใต้ตึกก็ดูจะวุ่นงายจากคนที่เดินผ่านไปมาเล็กน้อย



ประเมินอาจารย์ผู้สอน


1.อาจารย์มีเทคนิคการสอนหลากหลาย

2.เข้าสอนตรงเวลา

วันพฤหัสบดีที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่11 วันพุธที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่11 วันพุธที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2558


เนื้อหาที่เรียน

1.ขั้นตอนการออกแบบกิจกรรม 

 1.1 ศึกษาสาระที่ควรเรียนรู้
 1.2 วิเคราะห์เนื้อหา
 1.3 ศึกษาประสบการณ์สำคัญ
 1.4 บูรณาการสาระคณิตศาสตร์
 1.5 ออกแบบกิจกรรม 

2. สาระที่ควรเรียนรู้ 
 

 2.1 เรื่องราวเกี่ยวกับเด็ก
 2.2 เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลรอบตัวเด็ก
 2.3 ธรรมชาติรอบตัวเด็ก

3. หลักการในการเลือกหัวข้อเรื่องเพื่อสร้างหน่วย


 3.1 เรื่องใกล้ตัว
 3.2 เรื่องที่มีผลกระทบกับตัวเด็ก
 3.3 ประสบการณ์สำคัญ


4. ข้อควรคำนึงในการออกแบบกิจกรรม


 4.1  ข้อมูลเหล่านั้นจะสัมพันธ์กับข้อมูลเดิมที่เด็กมีทำให้มีการเปรียบเทียบโครงสร้างความรู้เป็นความรู้ใหม่
 4.2 เหมาะสมกับความต้องการและความสามารถของเด็ก



ทักษะที่ได้

1. ได้ฝึกการย่อและจับใจความของเนื้อหาที่อาจารย์สอน
2. ได้มีการกล้าที่จะแสดงความคิดเห็น
3. ได้ฝึกการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น



การประยุกย์ใช้

ในการจัดกิจกรรมต่างๆการเรียนการสอนเป็นแนวทางที่ดีได้สำหรับทุกๆกิจกรรม ได้สามารถนำไปประยุกต์เพื่อทุกกิจกรรมได้
 

 

บรรยากาศในห้อง

เพื่อนๆ เรียนกันอย่างสนุกสนาน สนใจการเรียนดีระดับนึง ให้ความร่วมมือในการเรียนเป็นอย่างดีค่ะ

 


ประเมินอาจารย์ผู้สอน

อาจารย์เสียงดังฟังชัด มีความพร้อมในการสอนมากสอนได้เข้าใจตรงกับเนื้อหาสนุกดีค่ะ

 

วันจันทร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่10 วันพุธที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่10 วันพุธที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2558


เนื้อหาที่เรียน

1.ทำกิจกรรมก่อนเรียน

เพื่อนนำเสนอ บทความ

เลขที่ 25 ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 เป็นวิธีการเรียนรู้

เลขที่ 26 การนำนิทานมาบูรณาการคณิตศาสตร์

เลขที่ 2 คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

 

 เพื่อนนำเสนอ งานกลุ่ม

กลุ่มที่1 เรื่อง การเรียนการสอนแบบมอนเตสซอรี่

เนื้อหา  การเรียนการสอนแบบมอนเตสซอรี่

1. หลักสูตรการสอนแบบมอนเตสซอรี่

2. หลักสูตรพื้นฐานสำหรับเด็กอายุ3-6 ขวบ

-ด้านทักษะกลไกล
- ด้านประสาทสัมผัส
- ด้านการเขียนและคณิตศาสตร์

3. วิธการจัดการเรียนการสอนแบบมอนเตสซอรี่
-การเตรียม
-การดำเนินการ

4. การจัดสิ่งแวดล้อมในห้องเรียน
-บทบาทครู
-ประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนการสอน


กลุ่มที่ 2 เรื่อง การเรียนการสอนแบบสตอรี่ไลน์


กลุ่มที่ 3 เรื่อง การเรียนการสอนแบบ Brain Based Learning


กลุ่มที่ 4 เรื่อง การเรียนการสอนแบบ STEM


ทักษะที่ได้

1. การสอนแบบผู้เรียนมีส่วนร่วม

2. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็น

3.ได้ฝึกการจดบันทึกและย่อใจความสำคัญ 

 

การประยุกย์ใช้

ในการจัดกิจกรรมต่างๆการเรียนการสอนเป็นแนวทางที่ดีได้สำหรับทุกๆกิจกรรม ได้สามารถนำไปประยุกต์เพื่อทุกกิจกรรมได้

 

 

บรรยากาศในห้อง

เพื่อนๆ เรียนกันอย่างสนุกสนาน สนใจการเรียนดีระดับนึง ให้ความร่วมมือในการเรียนเป็นอย่างดีค่ะ

 


ประเมินอาจารย์ผู้สอน

อาจารย์เสียงดังฟังชัด มีความพร้อมในการสอนมากสอนได้เข้าใจตรงกับเนื้อหาสนุกดีค่ะ

 

วันพุธที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่8 วันพุธที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่8 วันพุธที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2558


เนื้อหาที่เรียน

1.การบูรณาการและทักษะทางคณิตศาสตร์
2. การวิเคราะห์ข้อมูล เปรียบเทียบหาความน่าจะเป็น การใช้การฟิก
3. เพลงใหม่


เนื้อหา

 1. การนำเสนอการจัดประสบการณ์แบบโครงการ Projec Appport มี 5 ลักษณะ

1.1 มีโอกาศในการอภิปราย
1.2 นำเสนอประสบการณ์เดิม
1.3 การทำงานภาคสนาม
1.4 สืบค้นข้อมูล
1.5 การจัดการแสดง


เพลง เท่ากัน--ไม่เท่ากัน
ช้างมีสี่ขา ม้ามีสี่ขา 

คนเรานั้นหนา สองขา ต่างกัน

ช้างม้ามี สี่ขา เท่ากัน (ซ้ำ)

แต่กับคนนั้น ไม่เท่ากันเอย (ซ้ำ)

เพลง จับปู 

1 2 3 4 5 จับปูม้ามาได้หนึ่งตัว

6 7 8 9 10 ปูมันหนับฉันต้องส่ายหัว

กลัว ฉันกลัว ฉันกลัว ปูหนีบ ฉันที่หัวแม่มือ
 

นำเสนอกิจกรรมส่งเสริมคณิตศาสตร์

1. นางสาว เปมิกา นำเสนอกิจกรรมส่งเสริมคณิตศาสตร์ โดยการนำผลไม้มาบอกชนิดของลักษณะ

2.นางสาว ปาริฉัตร นำเสนอกิจกรรมส่งเสริมคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยโดยผ่านนิทานลูกหมู 3 ตัว บอกเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ในนิทานเช่น จำนวนลูกหมู อายุของลูกหมู

3.นางสาว นิศากร นำเสนอกิจกรรมส่งเสริมคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ผ่านเกมส์ลูกเต๋า ได้รู้จักจำนวน ได้การนับ การเปรียบเทียบ

4. นางสาว กัญญาลักษณ์  นำเสนอกิจกรรมส่งเสริมคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ผ่านกิจกรรมรถไฟหรรษา ได้นับจำนวน


 

 เพื่อนนำเสนอ บทความ

เลขที่ 21 เรื่อง การสอนคณิตศาสตร์จากชีวิตครอบครัว 


ทักษะที่ได้

1. การสอนแบบผู้เรียนมีส่วนร่วม

2. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็น

3.ได้ฝึกการจดบันทึกและย่อใจความสำคัญ 

 

การประยุกย์ใช้

ในการจัดกิจกรรมต่างๆการเรียนการสอนเป็นแนวทางที่ดีได้สำหรับทุกๆกิจกรรม ได้สามารถนำไปประยุกต์เพื่อทุกกิจกรรมได้

 

 

บรรยากาศในห้อง

เพื่อนๆ เรียนกันอย่างสนุกสนาน สนใจการเรียนดีระดับนึง ให้ความร่วมมือในการเรียนเป็นอย่างดีค่ะ

 


ประเมินอาจารย์ผู้สอน

อาจารย์เสียงดังฟังชัด มีความพร้อมในการสอนมากสอนได้เข้าใจตรงกับเนื้อหาสนุกดีค่ะ

 

บันทึกอนุทินครั้งที่7 วันพุธที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่7 วันพุธที่ 18กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558


เนื้อหาที่เรียน

1.การสอนแบบคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
2. รูปแบบการจัดประสบการณ์สำหรับเด็ก
3. ทบทวนเพลง
4. ทดสอบก่อนเรียน


เนื้อหา

 1. รูปแบบการณ์จัประสบการณ์แบบบูรณาการ คือการเอาศาสตร์มารวมกัน
 

2. นำไปสร้างงาน แก้ปัญหา และใช้ในชีวิตประจำวันได้ด้วย

 

ความสำคัญการจัดประสบการณ์แบบบูรณาการ

1. การจักประสบการณ์แบบบูรณาการจะช่วยให้สามารถนำความรู้ ทักษะจากหลายๆศาสตร์มาแก้ปัญหาได้กับชีวิตจริง

2. การจัดประสบการณ์แบบบูรณาการ นำไปใช้ได้จริงไม่ได้สลับเพราะมันทับซ้อนกันอยู่

3. การจัดประสบการณ์แบบบูรณาการ ลดความซ้ำซ้อนของเนื้อหาต่างๆ

4.การจัดประสบการณ์แบบบูรณาการ จะตอบสนองต่อความสามารถในหลายๆด้าน ช่วยสร้างความรู้ ทักษะและเจตคติ แบบ #พหุปัญญา

5. การจัดประสบการณ์แบบบูรณาการ จะสอดคล้องกับทฤษฎีการสร้างความรู้โดยผู้เรียน


 

 เพื่อนนำเสนอ โทรทัศน์ครู

เลขที่ 17 เรื่อง การสอนคณิตศาสตร์โดยใช้ลูกเต๋า การสอนบวกเลขง่ายๆ

 

ทักษะที่ได้

1. การสอนแบบผู้เรียนมีส่วนร่วม2. การสอนแบบมีการบูรณาการณ์มาสิ่งรอบตัวมาสอนเพื่อสอดคล้องกับเนื้อหาได้3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็น4.ได้ฝึกการจดบันทึกและย่อใจความสำคัญ 

 

การประยุกย์ใช้

ในการจัดกิจกรรมต่างๆการเรียนการสอนเป็นแนวทางที่ดีได้สำหรับทุกๆกิจกรรม ได้สามารถนำไปประยุกต์เพื่อทุกกิจกรรมได้

 

 

บรรยากาศในห้อง

เพื่อนๆ เรียนกันอย่างสนุกสนาน สนใจการเรียนดีระดับนึง ให้ความร่วมมือในการเรียนเป็นอย่างดีค่ะ

 


ประเมินอาจารย์ผู้สอน

อาจารย์เสียงดังฟังชัด มีความพร้อมในการสอนมากสอนได้เข้าใจตรงกับเนื้อหาสนุกดีค่ะ

 

วันอังคารที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่6 วันพุธที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่6 วันพุธที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

เนื้อหาที่เรียน

1. การสอนแบบลงมือปฎิบัติ

2. เทคนิคการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์

3. ความคิดเชิงคณิตศาสตร์

 

 เพื่อนนำเสนอ โทรทัศน์ครู

เลขที่ 13 การสร้างหนังสือภาพเพื่อเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย  เพื่อให้เด็กได้ประสบการณ์ตรง

เลขที่ 14 การพัฒนาความพร้อมสำหรับเด็กปฐมวัย  เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการศึกษา เพื่อให้เด็กได้ลงมือปฎิบัติ

 

 

ทักษะที่ได้

1. การสอนแบบผู้เรียนมีส่วนร่วม
2. การสอนแบบมีการบูรณาการณ์มาสิ่งรอบตัวมาสอนเพื่อสอดคล้องกับเนื้อหาได้
3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็น

 

 

การประยุกย์ใช้

ในการจัดกิจกรรมต่างๆการเรียนการสอนเป็นแนวทางที่ดีได้สำหรับทุกๆกิจกรรม ได้สามารถนำไปประยุกต์เพื่อทุกกิจกรรมได้

 

 

บรรยากาศในห้อง

เพื่อนๆ เรียนกันอย่างสนุกสนาน สนใจการเรียนดีระดับนึง ให้ความร่วมมือในการเรียนเป็นอย่างดีค่ะ

 

 

ประเมินอาจารย์ผู้สอน

อาจารย์เสียงดังฟังชัด มีความพร้อมในการสอนมากสอนได้เข้าใจตรงกับเนื้อหาสนุกดีค่ะ

 

 

 

วันจันทร์ที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5 วันพุธที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5 วันพุธที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558


เนื้อหาที่เรียน

1.เนื้อหาการสอนแบบโครงการ2.การสอนแบบลงมือปฎิบัติ3.สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์4.สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์สู่การปฎิบัติในชั้นเรียน5.กรอบมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย6.สาระและมาตรฐานมี 6 สาระ      7.คุณภาพของเด็กเมื่อจบการศึกษาปฐมวัย8.การเรียนรู้ในชั้นเรียน

สาระการเรียนรู้มี 6 สาระ

1. จำนวนและการดำเนินการ
2. การวัด
3. เรขาคณิต
4. พีชคณิต
5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
6. ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์


คุณภาพของเด็กเมื่อจบการศึกษาปฐมวัย

1. มีความคิดเชิงคณิตศาสตร์
2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงิน และเวลา
3. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเราขาคณิต
4. มีความรู้ความเข้าใจของรูปที่มีรูปร่างขนาด สีที่สัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่ง
5. มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลและนำเสนอแผนภูมิตัวอย่าง
6. มีทักษะและกระบวนทางคณิตศาสตร์ที่น่าจะเป็น

เพื่อนนำเสนอบทความ

เลขที่ 10 เรื่องความสามารถแต่ละช่วงวัยของเด็ก พัฒนาการแต่ละช่วงวัยของเด็ก

ร้องเพลง 

1.เพลงจัดแถว2. เพลง ซ้าย ขวา3. เพลงนกกระจิบ

ทักษะที่ได้ 

1. ได้ฝึกการเป็นผู้ฟังที่ดี เป็นนักเรียนที่ดี จับใจความสิ่งที่อาจารย์สอน
2.  ได้ฝึกการร้องเพลงสำหรับการบูรณาการณ์ในการสอนเด็ก
3.  ได้จดกระบวนการคิดว่าจะฟังเพื่อนอย่างให้เข้าใจ

วิธีการสอน

1. การสอนแบบมีแบบทดสอบก่อนเรียน
2. การสอนแบบผู้เรียนมีส่วนร่วม
3. การสอนแบบมีการบูรณาการณ์มาสิ่งรอบตัวมาสอนเพื่อสอดคล้องกับเนื้อหาได้
4. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็น



การประยุกย์ใช้

ทุกสิ่งที่อาจารย์สอนมาสามารถนำไปใช้ในเหตุการณ์จริงได้ทั้งหมดเพราะทุกสิ่งล้วนมาจากสิ่งที่ต้องเจอทุกสิ่ง


บรรยากาศในห้อง

เพื่อนๆ เรียนกันอย่างสนุกสนาน สนใจการเรียนดีระดับนึง ให้ความร่วมมือในการเรียนเป็นอย่างดีค่ะ


ประเมินอาจารย์ผู้สอน

อาจารย์เสียงดังฟังชัด มีความพร้อมในการสอนมากสอนได้เข้าใจตรงกับเนื้อหาสนุกดีค่ะ

วันอังคารที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4 วันพุธที่ 28 มกราคม 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4 วันพุธที่ 28 มกราคม 2558


เนื้อหาที่เรียน

  1.    ทบทวนความรู้เดิม
  2.    จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 
              2.1 เพื่อให้เด็กมีความเข้าใจเกี่ยวกับคณืตศาสตร์
              2.2 เพื่อพัฒนาเกี่ยวกับมโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
              2.3 เพื่อให้เด็กรู้จักการใช้กระบวนการหาตำคอบ
   
     3.     ทักษะพื้นฐาน
              3.1 การสังเกตุ
              3.2 การจำแนกประเภท
              3.3 การเปรียบเทียบ
              3.4 การจัดลำดับ
              3.5 การวัด
              3.6 การนับ
              3.7 รูปทรงและขนาด
    4.       ร้องเพลง


เพื่อนนำเสนอ วิดีโอโทรทัศน์ครู

เลขที่ 7 ของเล่นและของใช้ เด็กได้มีกระบวนในการจดจำ มีของเล่นของใช้เป็นของจริงรู้จักการสังเกตุของเล่นและของใช้
เลขที่ 8 ของหนูเอง เป็นเรื่องการสอนเกี่ยวกับประสบการณ์จริงพาเด็กไปตลาดเด็กได้ซื้อของจ่ายตังเอง
ลขที่ 9 การบูรณาการ กิจกรรมเนื้อหานำด้วยผึ้งเปลี่ยนรัง ศิลปะใช้ทักษะการสังเกตุ

ทักษะที่ได้รับ

  1. ได้ทักษะการนำเสนอหน้าห้อง ได้ฝึกการกล้าพูด กล้าตอบคำถาม
  2. ได้จดกระบวนการคิดว่าจะฟังเพื่อนอย่างให้เข้าใจ
  3. ได้ทักษะว่าการมายืนรายงานควรใช้น้ำเสียงกริยาเช่นไร


วิธีการสอน

  1. มีแบบทดสอบให้ทำก่อนที่จะเริ่มเรียน
  2. เรียนตามเนื้อหาอย่างเป็นลำดับ
  3. สอนแบบเปิดโอกาสถามตอบกันเพื่อความเข้าใจของนักศึกษา


การประยุกต์ใช้

สามารถนำไปใช้กับเด็กได้เป็นอย่างดีเพราะการสอนเด็กครูจะต้องมีการพูดคุยกันตลอด


บรรยากาศในห้องเรียน


เพื่อนๆให้ความสนใจในการเรียนเป็นอย่างมาก ถามตอบกันอย่างสนุกสนาน ให้ความร่วมมือในการเรียนการสอนของอาจารย์มาก


ประเมินอาจารย์ผู้สอน

อาจายร์เสียงดังฟังชัดมีเทคนิคในการสอนอย่างน่าสนใจสอนได้ตามเนื้อหาอย่างเป็นระบบค่ะ


วันอังคารที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 3 วันพุธที่ 21 มกราคม 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 3 วันพุธที่ 21 มกราคม 2558



เนื้อหาที่เรียน

  • ความหมายและประโยชน์ของพัฒนาการคืออะไร
  • พัฒนาการทางสติปัญญาสัมพันธ์กับการทำงานของสมองอย่างไร
  • พัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ บรูเนอร์ ไวกอตซกี้ มีลักษณะอย่างไร
  • การเรียนรรู้หมายถึงอะไรและมีประโยชน์อย่างไร
  • เด็กปฐมวัยมีวิธีการเรียนรู้อย่างไรและมีประโยชน์อย่างไร


เพื่อนนำเสนอวิจัย

เลขที่ 4 เรื่อง การสร้างชุดทักษะสำหรับเกมการศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

เลขที่ 5 เรื่อง การเตรียมความพร้อมเพื่อพัฒนาเกมการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย

เลขที่ 6 การส่งเสริมทักษะทางคณิตศาสตร์โดยผ่านการเล่น


ทักษะที่ได้รับ

  1. ได้ความกล้าในการแสดงออกทางด้านความคิด
  2. ได้กล้าคิดกล้าพูดกล้าที่จะตอบคำถามของอาจารย์
  3. ได้ร่วมกันระดมความคิด

วิธีการสอน

  1. มีแบบทดสอบให้ทำก่อนที่จะเริ่มเรียน
  2. สอนแบบการเปิดโอกาศให้นักศึกษาได้ร่วมตอบคำถาม
  3. มีสื่ออิเลคทรอนิคเข้ามาช่วยเสริมบ้างเล็กน้อย

การประยุกต์ใช้

ในภายภาคหน้าการสอนหรือแม้แต่เนื้อหาต่างๆก็สามารถที่จะนำไปปรับใช้ได้และสามารถที่จะใช้ได้กับหลายวิชาอีกด้วย


บรรยากาศในห้องเรียน


อากาศหนาวดีค่ะ และวันนี้เพื่อนๆในห้องให้ความร่วมมือในการเรียนเป็นอย่างดีช่วยกันตอบคำถามแสดงความคิดเห็นกันอย่างสนุกสนาน


ประเมินอาจายร์ผู้สอน

อาจายร์ยังคงมาเรียนตรงตามปกติเนื้อหาและวิธีการสอนสนุกสนานไม่น่าเบื่อ ง่วงนอน มีการช่วยกันตบคำถามตามที่อาจารย์สั้งอาจายร์ให้เทคนิคในการสอนการจำหลายอย่างค่ะ

สรุปบทวิจัย

สรุปบทวิจัย   


เรื่อง ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ 


ผู้ทำวิจัย พิจิตรา เกษประดิษฐ์


ปีที่จัดทำ พฤษภาคม 2552 


ความสำคัญของการวิจัย

  ผลการวิจัยครั้งนี้จะเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจ สำหรับครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัย ในการนำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ ไปใช้เพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยอีกวิธีหนึ่งเด็กปฐมวัย ในการนำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ ไปใช้เพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยอีกวิธีหนึ่ง

ความเป็นมาของการวิจัย

ความสำคัญและสภาพปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัย จึงสนใจศึกษาว่า การจัดกิจกรรมการใช้ขนมอบ ทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ สามารถทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ตลอดจนมีพัฒนาการด้านสติปัญญาในด้านทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์จากการใช้ขนมอบทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ซึ่งผลการวิจัยครั้งนี้ จะเป็นแนวทางสำหรับครูผู้บริหาร ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยในการจัด และพัฒนารูปแบบของกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ และพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยต่อไป 


ขอบเขตของการวิจัย 

 ประชากร 

  ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นเด็กปฐมวัยชาย-หญิง ที่มีอายุ 34 ปี ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 ของโรงเรียนอนุบาลกุ๊กไก่ สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร จำนวน 81 คน


 กลุ่มตัวอย่าง 

  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นเด็กปฐมวัยชาย-หญิง ที่มีอายุ 34 ปี ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลบาลปีที่ 1/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 ของโรงเรียนอนุบาลกุ๊กไก่สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน จำนวน 20 คน

ตัวแปรที่ศึกษา 

 ตัวแปรต้น คือ การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ

   ตัวแปรตาม คือ ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์

นิยามศัพท์เฉพาะ

1. เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กนักเรียนชาย-หญิง ที่มีอายุระหว่าง 3 – 4 ปี      2.กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ หมายถึง กิจกรรมที่เดี่ยวที่เด็กใช้ประสาทสัมผัสในการทำกิจกรรมตกแต่งบนขนมอบ คือ ขนมปัง คุกกี้ พาย เค้ก ขนมทิ้ง4 ชนิดนี้ มีรูปร่าง รูปทรง เด็กจะได้มีโอกาสเลือกและลงมือปฏิบัติ

วิธีดําเนินการวิจัย

ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 1. การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล 4. การดำเนินการทดลอง 5. การจัดกระทำและการวิเคราะห์ข้อมูล 

กรอบแนวคิดการวิจัย 

การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยขนมอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ 1. การสังเกตและการจำแนก 2. การเปรียบเทียบ 3. การจัดหมวดหมู่

สมมติฐานของการวิจัย 

เด็กปฐมวัยที่ทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ มีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สูงขึ้น 

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 

 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ มีดังนี้

 1. แผนการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ

 2. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์

 สรุปผลการวิจัย 

ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ทั้งโดยรวมและรายด้านของเด็กปฐมวัยหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยขนมอบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

ข้อเสนอแนะในการนําไปใช้

 1. ครูควรมีบทบาทในการดูแลให้ความช่วยเหลือ ให้คำแนะนำเมื่อเด็กต้องการ กระตุ้นให้เด็กโดยให้เด็กได้ทดลองทำตามความคิดของตนเอง ให้แรงเสริม กล่าวคำชมเชยในผลงานของเด็ก ทำให้เด็กมีความมั่นใจ และตั้งใจในการทำกิจกรรม

 2. ในการเตรียมกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยขนมอบนั้น ควรเตรียมครีมใส่กรวยเมื่อใกล้จะทำกิจกรรม

3. ก่อนที่จะทำกิจกรรมครูควรแนะนำให้เด็กรักษาความสะอาด ถ้าครีมแต่งหน้าเค้กเลอะมือหรือเสื้อผ้า ควรใช้กระดาษทิชชูเช็ดออกก่อนแล้วนำไปล้างด้วยน้ำสบู่

วันอาทิตย์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2558

การบันทึกอนุทินครั้งที่ 2 วันพุธที่ 14 มกราคม 2558

การบันทึกอนุทินครั้งที่ 2 วันพุธที่ 14 มกราคม 2558

เนื้อหาการเรียน

ความหมายของคณิตศาสตร์ วิชาว่าด้วยการคำนวณ เป็นศาสตร์ที่มุ่งค้นคว้าเกี่ยวกับ โครงสร้างนามธรรมที่ถูกกำหนดขึ้นผ่านทางกลุ่มของสัจพจน์ซึ่งมีการให้เหตุผลที่แน่นอนโดยใช้ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ และสัญกรณ์คณิตศาสตร์ เรามักนิยามโดยทั่วไปว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ ปริมาณ(จำนวน) โครงสร้าง ปริภูมิ และ การเปลี่ยนแปลง กล่าวคร่าวๆ ได้ว่าคณิตศาสตร์นั้นสนใจ "รูปร่างและจำนวน" เนื่องจากคณิตศาสตร์มิได้สร้างความรู้ผ่านกระบวนการทดลอง บางคนจึงไม่จัดว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาของวิทยาศาสตร์


ณิตศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่มุ่งค้นคว้าเกี่ยวกับ โครงสร้างนามธรรมที่ถูกกำหนดขึ้นผ่านทางกลุ่มของสัจพจน์ซึ่งมีการให้เหตุผลที่แน่นอนโดยใช้ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ และสัญกรณ์คณิตศาสตร์..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/94173
 ความสำคัญของคณิตศาสตร์
  1.  คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวกับการคิด  เราใช้คณิตศาสตร์เพื่อพิสูจน์อย่างมีเหตุผลว่..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/294221

 1. เราใช้คณิตศาสตร์ในการตัดสินในการบอกการมีเหตุมีผล2. คณิตศาสตร์เป็นภาษาอย่างหนึ่งที่ใช้สื่อความหมายได้อย่างถูกต้อง3. คณิตศาสตร์เป็นโครงสร้างที่รวมของความรู้4. คณิตศาสตร์เป็นการศึกษาเกี่ยวกับแบบแผน



ทักษะการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์

ทักษะที่จำเป็นสำหรับเด็กปฐมวัยมี 7 ทักษะดังนี้1. ทักษะการสังเกตุ2. ทักษะการจำแนกประเภท3. ทักษะการเปรียบเทียบ4. ทักษะการจัดลำดับ5. ทักษะการวัด6. ทักษะการนับ7. ทักษะเกี่ยวกับรูปทรงและขนาด


ประโยน์ของคณิตศาสตร์

1. คณิตศาสตร์เป็นสิ่งที่อยู่คู่กับชีวิตในปรจำวันของมนุษย์เราทุกคนอยู่แล้ว เช่นการซื้อของการทอนเงิน การบอกวันที่บอกเวลา เป็นต้น2. สำหรับคณิตศาสตร์ในการเรียนการสอนมีอยู่ตั้งแต่ชั้นอนุบาล เช่นสอนเด็กว่า 1 วันจันทร์สีเหลือง


ทักษะที่ได้

1. ได้ความกล้าแสดงออกในการออกไปพูดเสนอความคิดหน้าห้องเรียน

2. ได้ร่วมกันระดมความคิดกันของเพื่อนในกลุ่มร่วมกันแสดงความคิดเห็นกัน


วิธีการสอน

1.สอนด้วยวิธีการศึกษาด้วยตนเองจากใบงาน2. แบ่งกลุ่มร่วมกันแสดงความคิดเห็น


การประยุกต์ใช้

สามารถนำการเรียนการสอนแบบกลุ่มไปใช้กับเด็กน้อยฐมวัยในการทำงานเป็นกลุ่มได้


บรรยากาศในการเรียน

วันนี้เพื่อนๆมาเรียนกันอย่างพร้อมหน้ามีการแบ่งกลุ่มก็แบ่งกันและช่วยกันอย่างดีเยี่ยม



ประเมินอาจารย์ผู้สอน 

อาจารย์เป็นคนที่แก้ไขัญหาได้อย่างดีมากตรงต่อเวาลาสุดๆเสียงดังฟังชัดเจนสอนสนุกสั่งงานไม่งงค่ะ

คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวกับการคิด..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/294221
    1.  คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวกับการคิด  เราใช้คณิตศาสตร์เพื่อพิสูจน์อย่างมีเหตุผลว่า..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/294221
  1.  คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวกับการคิด  เราใช้คณิตศาสตร์เพื่อพิสูจน์อย่างมีเหตุผลว่..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/294221
คณิตศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่มุ่งค้นคว้าเกี่ยวกับ โครงสร้างนามธรรมที่ถูกกำหนดขึ้นผ่านทางกลุ่มของสัจพจน์ซึ่งมีการให้เหตุผลที่แน่นอนโดยใช้ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ และสัญกรณ์คณิตศาสตร์..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/94173
คณิตศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่มุ่งค้นคว้าเกี่ยวกับ โครงสร้างนามธรรมที่ถูกกำหนดขึ้นผ่านทางกลุ่มของสัจพจน์ซึ่งมีการให้เหตุผลที่แน่นอนโดยใช้ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ และสัญกรณ์คณิตศาสตร์..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/94173

สรุปบทความ คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

สรุปบทความ คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เรื่อง สอนคณิตอย่างไรให้สนุก ( สำหรับเด็กปฐมวัย )

การจะสอนคณิตศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยนั้นเป็นเรื่อที่ยาแต่ก็ไม่ได้เกินไปพียงแค่คุณครูจะต้องมีการจัดประสบการณ์จัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับวัยของเด็กและจะต้องมีเรียนรู้อย่างสนุกสนานไม่เครียดไปกับเนื้อหาที่ต้องเรียนรู้ได้โดยหาวิธีที่ง่าย  ดังนั้นผู้เขียนจึง คิดหาวิธีในการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ให้เด็กได้เรียนรู้อย่างสนุกสนานโดยจัด กิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้สื่อทั้งที่เป็นรูปภาพ ของจริง ของจำลองที่หลากหลาย เด็กเมื่อได้เรียนรู้อย่างเหมาะสมการเรียนรู้ก็จะไปได้อย่างดีตามวัย

การบันทึกอนุทินครั้งที่ 1 วันพุธที่ 7 มกรคม พ.ศ 2558

การบันทึกอนุทินครั้งที่ 1 วันพุธที่ 7 มกรคม พ.ศ 2558

เนื้อหาการเรียน

ผู้เรียนมีพฤติกรรมดังต่อไปนี้ใน 6 ด้าน

1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม2. ความรู้3. ทักษะทางปัญญา4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ5. ทักษธการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ6. ทักษะการจัดการเรียนรู้



การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ

1.การจัดประสบการณ์2.คณิตศาสตร์3.เด็กปฐมวัย



ทักษะที่ได้รับ

1, ทักษะการคิด 2.ทักษะการตอบคำถาม 3. ทักษะการใช้สือสารสนเทศ


วิธีการสอน

1. ช่วยกันระดมความคิด
2. ค้นหาจากอินเตอร์เน็ต




การประยุกต์ใช้

 1. ใช้ในการสอนเด็กในการทำงานกลุ่มของเด็ก2. เวลาหาอะไรในการสอนจะได้เร็วในการค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต




บรรยากาศในห้องเรียน

  วังเวงมากค่ะ เพราะเพื่อนมาเรียนน้อย แต่อาจารย์ก็ทำให้บรรยากาศในห้องเรียนสนุกไปกับเนื้อหา
ที่เรียนได้ค่ะ แอร์เย็นมากค่ะ

**ในครั้งนี้หนูไม่ได้มาเรียนค่ะจึงเข้าไขอดูและนำของเพื่อนมาดัดแปลค่ะ**


ประเมินอาจารย์ผู้สอน 

 หนูคิดว่าอาจายร์มีวิธีการสอนที่หลากหลายหลายแบบ และเสียงของอาจาร์เสียดังฟังชัด